[x] ปิดหน้าต่างนี้
Powered by ATOMYMAXSITE 2.5
สำนักงานสาธารณสุขอำเภอแม่สาย :: www.msdho.com
ยินดีต้อนรับคุณ บุคคลทั่วไป  
English Chinese (Simplified) Chinese (Traditional) French German Italian Japanese Korean Portuguese Russian Spanish Vietnamese Thai     
เมนูหลัก
ตรวจสอบสิทธิ์
Untitled Document
e-Learning
e-Learning
ระบบสมาชิก
Username :
Password :
[ สมัครสมาชิก ] | [ ลืมรหัสผ่าน ]
สมาชิกทั้งหมด 17 คน
สมาชิกที่กำลังออนไลน์ 0 คน
ระบบสารสนเทศ
Untitled Document
e-Learning
e-Learning
e-Learning
e-Learning
e-Learning
e-Learning
e-Learning
e-Learning
e-Learning
e-Learning
e-Learning
e-Learning
e-Learning
e-Learning
e-Learning
e-Learning
e-Learning
e-Learning
e-Learning
พยากรณ์อากาศ แม่สาย
+31
°
C
+31°
+22°
แม่สาย
, 22
+29° +22°
+25° +23°
+25° +22°
+27° +23°
+27° +22°
+24° +23°
ดูพยากรณ์ใน 7 วัน
ค้นหาจาก google
เครือข่ายบริการสุขภาพ
สถิติผู้เยี่ยมชม

 เริ่มนับ 23/ม.ค./2556
ผู้ใช้งานขณะนี้ 3 IP
ขณะนี้
3 คน
สถิติวันนี้
120 คน
สถิติเมื่อวานนี้ี้
220 คน
สถิติเดือนนี้
2968 คน
สถิติปีนี้
15152 คน
สถิติทั้งหมด
190901 คน
IP ของท่านคือ 18.227.0.192
(Show/hide IP)

  

  หมวดหมู่ : บทความทางวิชาการ
เรื่อง : สารกันบูดใน "ซอสพริก"
โดย : admin
เข้าชม : 86
เสาร์์ ที่ 13 เดือน พฤษภาคม พ.ศ.2560 ปักหมุดและแบ่งปัน
     

ซอสพริก” หนึ่งในเครื่องปรุงรสอาหาร ที่หลายคนชื่นชอบรับประทานคู่กับไก่ทอด หรือสเต๊ก แบบคนตะวันตก เฝอแบบคนเวียดนาม หรือกับก๋วยเตี๋ยวคั่วไก่แบบคนไทย เป็นเครื่องปรุงสำหรับเพิ่มรสชาติอาหารให้อร่อยถูกปาก

ซอสพริกเป็นผลิตภัณฑ์ที่ทำมาจากพริก แบ่งเป็น 2 ชนิด คือ ซอสพริกล้วน มีส่วนผสมเฉพาะพริกกับส่วนประกอบอื่น เช่น น้ำตาล น้ำส้ม และซอสพริกผสมมะเขือเทศ เป็นผลิตภัณฑ์ที่มีมะเขือเทศผสมอยู่ด้วย

การผลิตซอสพริกตามแบบชาวบ้านไม่นิยมเพิ่มเติมสิ่งต่างๆ นอกเหนือจากวัตถุดิบขั้นต้น เช่น พริก กระเทียม น้ำส้มสายชู เกลือ และน้ำตาลทราย นำมาปั่นแล้วหมักทิ้งไว้ จะได้ซอสพริกเก็บไว้กินตามครัวเรือน ถ้าเป็นในระดับอุตสาหกรรม จะต้องมีการผลิตคราวละมากๆ จึงมีความจำเป็นจะต้องเพิ่มเติมสารถนอมอาหาร หรือสารกันบูด (กรดเบนโซอิก) เพื่อป้องกันการเปลี่ยนสภาพของซอสพริก ในระหว่างการขนส่งหรือระหว่างการจัดจำหน่าย

สารกันบูด เป็นสารที่สามารถเติมในอาหารได้ในปริมาณที่จำกัด ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมซอสพริก (มอก.242-2529) กำหนดให้พบการปนเปื้อนได้ไม่เกิน 1,000 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ถ้าพบเกินกว่านั้นร่างกายจะได้รับอันตราย โดยมีรายงานการศึกษาถึงผลของสารชนิดนี้ ต่อการเพิ่มอาการสมาธิสั้นในเด็กด้วย และหากได้รับเกิน 6 กรัมต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม อาจทำให้เสียชีวิตได้

เพื่อเตรียมความพร้อมด้านความปลอดภัยอาหารต่อการเป็นครัวของโลก สถาบันอาหาร จึงทำการสุ่มเก็บตัวอย่างซอสพริก จำนวน 5 ตัวอย่าง ในเขตกรุงเทพฯ เพื่อนำมาวิเคราะห์หาการปนเปื้อนของสารกันบูดในซอสพริก ปรากฏว่าพบสารกันบูด (กรดเบนโซอิก) ในทุกตัวอย่าง แต่ไม่เกินค่ามาตรฐาน

รู้อย่างนี้อย่าเพิ่งนอนใจ ควรระมัดระวังอาหารชนิดอื่นที่อาจมีการปนเปื้อนของสารชนิดนี้อยู่ด้วย เพราะใน 1 วัน คุณไม่ได้กินแค่ “ซอสพริก”....!!!





Not Rated stars เฉลี่ย : Not Rated จาก 0 ครั้ง.

บทความทางวิชาการ5 อันดับล่าสุด

      ‘5 ตัวช่วย’ เลิกบุหรี่ได้ ก็เป็นสุข 12/ม.ค./2561
      5 เมนูฮิต กินบ่อยไม่ดีต่อสุขภาพ 12/ม.ค./2561
      สารกันบูดใน "ซอสพริก" 13/พ.ค./2560
      เปลี่ยนอาหารการกินสู้มะเร็ง 13/พ.ค./2560
      รู้จัก “โรคมือเท้าปาก” ให้มากขึ้น 19/ก.พ./2560