[x] ปิดหน้าต่างนี้
Powered by ATOMYMAXSITE 2.5
สำนักงานสาธารณสุขอำเภอแม่สาย :: www.msdho.com
ยินดีต้อนรับคุณ บุคคลทั่วไป  
English Chinese (Simplified) Chinese (Traditional) French German Italian Japanese Korean Portuguese Russian Spanish Vietnamese Thai     
เมนูหลัก
ตรวจสอบสิทธิ์
Untitled Document
e-Learning
e-Learning
ระบบสมาชิก
Username :
Password :
[ สมัครสมาชิก ] | [ ลืมรหัสผ่าน ]
สมาชิกทั้งหมด 17 คน
สมาชิกที่กำลังออนไลน์ 0 คน
ระบบสารสนเทศ
Untitled Document
e-Learning
e-Learning
e-Learning
e-Learning
e-Learning
e-Learning
e-Learning
e-Learning
e-Learning
e-Learning
e-Learning
e-Learning
e-Learning
e-Learning
e-Learning
e-Learning
e-Learning
e-Learning
e-Learning
พยากรณ์อากาศ แม่สาย
+31
°
C
+31°
+22°
แม่สาย
, 22
+29° +22°
+25° +23°
+25° +22°
+27° +23°
+27° +22°
+24° +23°
ดูพยากรณ์ใน 7 วัน
ค้นหาจาก google
เครือข่ายบริการสุขภาพ
สถิติผู้เยี่ยมชม

 เริ่มนับ 23/ม.ค./2556
ผู้ใช้งานขณะนี้ 0 IP
ขณะนี้
0 คน
สถิติวันนี้
128 คน
สถิติเมื่อวานนี้ี้
185 คน
สถิติเดือนนี้
1103 คน
สถิติปีนี้
18354 คน
สถิติทั้งหมด
194103 คน
IP ของท่านคือ 3.23.101.60
(Show/hide IP)

  

  หมวดหมู่ : บทความทางวิชาการ
เรื่อง : อาถรรพณ์อากาศพิษ บีบทารกมีตัวเล็กลง
โดย : maesaihos
เข้าชม : 907
พฤหัสบดี ที่ 28 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ.2556 ปักหมุดและแบ่งปัน
     

ควันไอเสียรถยนต์และควันจากปล่องโรงงานที่ใช้ถ่านหินเป็นเชื้อเพลิง เป็นเหตุให้อากาศเป็นพิษ ทำให้มารดาเกือบทั่วโลกคลอดลูกออกมาตัวเล็กลงๆ ไปตามๆ กัน
การศึกษาโดยการวิเคราะห์ข้อมูลการเกิดของทารก 3 ล้านกว่าคน ตามที่ต่างๆ 14 แห่ง ในอังกฤษ ทวีปยุโรป อเมริกาเหนือ อเมริกาใต้ เอเชียและออสเตรเลีย ยังได้แสดงให้รู้ว่า ยิ่งเป็นถิ่นฐานที่มีอากาศเป็นพิษรุนแรงมากเท่าใด ทารกเกิดใหม่ที่นั่น ก็จะยิ่งตัวเล็กลงเท่านั้น
รายงานการศึกษาในวารสาร “แนวโน้มของอนามัยสิ่งแวดล้อม” กล่าวว่า พิษภัยของสิ่งแวดล้อมที่เป็นพิษ ยังก่อให้เกิดอันตรายอย่างอื่น เช่น ทารกตายก่อนคลอด หรือสุขภาพเสื่อมโทรม เจ็บป่วยเรื้อรังตอนแก่
ศาสตราจารย์ทันยา เปลสส์ มูลโลลิ มหาวิทยาลัยนิวคาสเซิลแห่งอังกฤษ กล่าวว่า “ยิ่งมลพิษทางอากาศร้ายแรงขึ้น เราคงได้เห็นทารกตัวเล็กลงมากขึ้น ซ้ำเด็กเหล่านี้จะต้องป่วยกระเสาะกระแสะ เมื่อย่างเข้าบั้นปลายชีวิตอีกด้วย”
เขากล่าวต่อไปว่า ตามมาตรฐานของอังกฤษ ทารกที่ถือว่าน้ำหนักน้อยกว่าปกติ คือหนักไม่ถึง





Not Rated stars เฉลี่ย : Not Rated จาก 0 ครั้ง.

บทความทางวิชาการ5 อันดับล่าสุด

      ‘5 ตัวช่วย’ เลิกบุหรี่ได้ ก็เป็นสุข 12/ม.ค./2561
      5 เมนูฮิต กินบ่อยไม่ดีต่อสุขภาพ 12/ม.ค./2561
      สารกันบูดใน "ซอสพริก" 13/พ.ค./2560
      เปลี่ยนอาหารการกินสู้มะเร็ง 13/พ.ค./2560
      รู้จัก “โรคมือเท้าปาก” ให้มากขึ้น 19/ก.พ./2560